อภิชาต, อภิชาต หมายถึง [อะพิชาด, อะพิชาดตะ] ว. เกิดดี, มีตระกูล. (ป., ส.).
น. บุตรที่มีคุณสมบัติสูงกว่าบิดามารดา, อติชาตบุตร ก็ว่า.(ส. อภิชาตปุตฺร; ป. อภิชาตปุตฺต).
ว. มีชัย, ชนะแล้ว. (ป., ส.).
[อะพินยา, อะพินยาน] น. 'ความรู้ยิ่ง' ในพระพุทธศาสนามี ๖ อย่างคือ ๑. อิทธิวิธิ การแสดงฤทธิ์ได้ ๒. ทิพโสต หูทิพย์ ๓. เจโตปริยญาณญาณรู้จักกําหนดใจผู้อื่น ๔. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ การระลึกชาติได้๕. ทิพจักขุ ตาทิพย์ ๖. อาสวักขยญาณ ญาณรู้จักทําอาสวะให้สิ้นไป.(ป.; ส. อภิชฺ?า, อภิชฺ?าน).
[อะพินยา, อะพินยาน] น. 'ความรู้ยิ่ง' ในพระพุทธศาสนามี ๖ อย่างคือ ๑. อิทธิวิธิ การแสดงฤทธิ์ได้ ๒. ทิพโสต หูทิพย์ ๓. เจโตปริยญาณญาณรู้จักกําหนดใจผู้อื่น ๔. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ การระลึกชาติได้๕. ทิพจักขุ ตาทิพย์ ๖. อาสวักขยญาณ ญาณรู้จักทําอาสวะให้สิ้นไป.(ป.; ส. อภิชฺ?า, อภิชฺ?าน).
[อะพินหะ] ว. เสมอ, ทุกวัน. (ป.).
[อะพิทํา] น. ชื่อปิฎกหนึ่งในพระไตรปิฎก ได้แก่ ๑. พระวินัยปิฎก๒. พระสุตตันตปิฎก ๓. พระอภิธรรมปิฎก, ชื่อธรรมะชั้นสูง มี ๗คัมภีร์ ได้แก่ ๑. สังคณี ๒. วิภังค์ ๓. ธาตุกถา ๔. ปุคคลบัญญัติ ๕.กถาวัตถุ ๖. ยมก ๗. ปัฏฐาน นิยมใช้สวดในงานศพ. (ส. อภิธรฺม;ป. อภิธมฺม).
น. หนังสืออธิบายศัพท์เฉพาะเรื่อง เช่น อภิธานประวัติศาสตร์ไทย.(ป., ส.).